359
คู่
มื
อหลั
กสู
ตรความปลอดภั
ยของผู้
ป่
วยขององค์
การอนามั
ยโลก: ฉบั
บสหวิ
ชาชี
พ (ฉบั
บภาษาไทย) เล่
ม 3
หั
วข้
อที่
4
การเป็
นสมาชิ
กที่
มี
ประสิ
ทธิ
ภาพ
ของที
ม
ที
มรั
กษาไม่
ได้
สื่
อสารกั
น
ไซมอน (Simon) เพศชายอายุ
18 ปี
ถู
กน�
ำส่
งโรงพยาบาลด้
วยรถฉุ
กเฉิ
น เขา
ไปเกี่
ยวข้
องกั
บการชกต่
อยมาและได้
รั
บบาดเจ็
บที่
ศี
รษะอย่
างรุ
นแรง ศี
รษะฟาดพื้
นกั
บ
ฟุ
ตบาท เจ้
าหน้
าที่
ประจ�
ำรถฉุ
กเฉิ
นผู้
ซึ่
งมี
งานยุ่
งมาก เมื่
อมาถึ
งห้
องฉุ
กเฉิ
นไม่
ได้
มี
เวลา
ที
่
จะอธิ
บายถึ
งเหตุ
การณ์
ที่
เกิ
ดขึ
้
นแก่
เจ้
าหน้
าที่
แผนกฉุ
กเฉิ
นของโรงพยาบาล ไซมอน
ไม่
สามารถพู
ดหรื
อบอกชื่
อตนเองได้
เมื่
อได้
รั
บการตรวจครั้
งแรกโดยพยาบาลที
่
ท�
ำหน้
าที่
จ�
ำแนกประเภทความรุ
นแรงของผู
้
ป่
วย (triage nurse) และต่
อมาได้
รั
บการตรวจจาก
แพทย์
ฝึ
กหั
ดที่
เพิ่
งจบมาได้
เพี
ยงหนึ่
งสั
ปดาห์
และไม่
มี
ผู
้
นิ
เทศอยู
่
ด้
วยในคื
นนั้
น แพทย์
ฝึ
กหั
ดและพยาบาลไม่
รู้
เลยว่
าไซมอนได้
รั
บบาดเจ็
บที่
ศี
รษะอย่
างรุ
นแรง
ไซมอนดื่
มสุ
รามา แพทย์
ฝึ
กหั
ดจึ
งคิ
ดว่
าเป็
นอาการของการเมาสุ
รา ซึ่
งวิ
นิ
จฉั
ยจาก
การที่
ไซมอนมี
อาการเอะอะโวยวายและก้
าวร้
าว อย่
างไรก็
ตามอาการเช่
นนั้
นอาจเป็
นผล
มาจากการบาดเจ็
บทางศี
รษะอย่
างรุ
นแรง ไซมอนได้
รั
บยาแก้
อาเจี
ยนและให้
นอนในห้
อง
สั
งเกตอาการ ในระหว่
างนั้
นพยาบาลและแพทย์
ฝึ
กหั
ดได้
เข้
ามาตรวจการตอบสนองต่
อ
ทางการพู
ดและทางการเคลื่
อนไหวอี
กหลายครั้
ง โดยตรวจคนละเวลา
เวลาผ่
านไป พยาบาลบั
นทึ
กว่
าอาการของเขาเลวลง แต่
ไม่
ได้
รายงานแพทย์
ฝึ
กหั
ด
โดยตรง และเป็
นความโชคร้
ายของไซมอนที่
แพทย์
ฝึ
กหั
ดเชื่
อในการสื่
อสารทางวาจา และ
ไม่
ได้
อ่
านรายงานของพยาบาลให้
ละเอี
ยดดี
พอ ไซมอนเสี
ยชี
วิ
ตในอี
กสี่
ชั่
วโมงครึ่
งนั
บแต่
เริ่
มเข้
าโรงพยาบาล
แหล่
งข้
อมู
ล: National Patient Safety Education Framework, Commonwealth of Australia, 2005.